Previous Page  36 / 64 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 36 / 64 Next Page
Page Background

วารสาร

36

1.2 การใช้ทรัพยากร เงินงบประมาณ แรงงาน และ

ทรัพย์สินเป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของกิจการ

1.3 ระบบการเสนอข้อมูลเพื่อการบริหารมีความถูกต้อง

เชื่อถือได้ และใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจสั่งการได้ทันเวลา

อุปสรรคและข้อบกพร่องต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ผู้บริหารจะได้รับทราบ

และสั่งการแก้ไขได้โดยทันท่วงที

1.4 มีการส�ำรวจ วิเคราะห์และเสนอแนะมาตรการ

การปรับปรุง เพื่อให้การด�ำเนินการมีประสิทธิภาพสูงขึ้นตลอดเวลา

จากรายงานผลการตรวจสอบที่ผู้ตรวจสอบได้เสนอต่อ

หัวหน้าหน่วยงานตามสายการบังคับบัญชา มีส่วนท�ำให้ผู้บริหาร

ได้ทราบผลการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชาที่ปฏิบัติงานอยู่ใน

ต�ำแหน่งและหน้าที่ต่าง ๆ ว่ามีประสิทธิภาพหรือมีประเด็นมากน้อย

เพียงใด และเกิดขึ้นตรงจุดไหนของหน่วยงาน สาเหตุมาจากอะไร

อาทิเช่น ปัญหาจากระบบงานที่ปฏิบัติ ปัญหาบุคลากร หรือปัญหา

จากอุปกรณ์ เครื่องอ�ำนวยความสะดวก ตลอดจนสถานที่ท�ำงาน......

เป็นต้น ซึ่งผู้บริหารจะได้น�ำมาพิจารณาหาทางแก้ไขประเด็นเหล่านี้

ก�ำกับดูแลและป้องกันมิให้เกิดขึ้นได้อีก โดยให้ความส�ำคัญในจุดที่

มีผลกระทบต่อหน่วยงานมากหรือโดยตรง รวมทั้งสนับสนุนและ

ให้ก�ำลังใจพนักงานที่เกี่ยวข้องให้แก้ปัญหาได้ลุล่วง

2. หัวหน้าหน่วยงานผู้รับตรวจ

เนื่องจากในบางครั้ง

ผู้บังคับบัญชาไม่สามารถก�ำกับดูแลตรวจสอบงานทุกอย่างที่อยู่ใน

ความรับผิดชอบได้ครบถ้วน งานที่ผู้ใต้บังคับบัญชาเสนอมาเพื่อ

พิจารณาหรืออนุมัติ อาจจัดท�ำขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามระเบียบที่

ก�ำหนดไว้ ด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ด้วยความที่ไม่มีความรู้

ในเรื่องนั้นๆด้วยความประมาทเลินเล่อไม่เจตนาหรือด้วยเจตนาที่ไม่

บริสุทธิ์ก็ตาม สิ่งเหล่านั้นก่อให้เกิดผลเสียหายแก่ผู้มีอ�ำนาจอนุมัติ

ในภายหลัง กรณีเหล่านี้หากผู้ตรวจสอบได้ตรวจพบก็จะได้

รวบรวมข้อผิดพลาด และเสนอไว้เป็นข้อสังเกตแก่หัวหน้าหน่วยงาน

ผู้รับตรวจนั้น ๆ เพื่อป้องกันและเพิ่มความระมัดระวังต่อไป

3. เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน (ผู้รับตรวจ)

3.1 เป็นการเร่งรัดเจ้าหน้าที่ให้มีความกระตือรือร้น

ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ของตนให้ทันเวลา ไม่เก็บงานไว้คั่งค้าง

เอาใจใส่ระมัดระวังรอบคอบ มีผลท�ำให้ความผิดพลาดลดน้อยลง

ก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการท�ำงาน

3.2 ได้รับค�ำแนะน�ำในการปฏิบัติงานให้ถูกต้องตามกฎ

ระเบียบ ข้อบังคับของหน่วยงาน และมติ ครม.ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ

การบัญชีและการเงินการงบประมาณและพัสดุตลอดจนระเบียบอื่น

ที่เกี่ยวข้อง

3.3 ได้รับค�ำปรึกษาแก่เจ้าหน้าที่กรณีมีปัญหาในการ

ปฏิบัติงาน ในบางเรื่องที่ระเบียบครอบคลุมไว้ไม่ถึง ท�ำให้ไม่แน่ใจ

หรือไม่กล้าตัดสินใจด�ำเนินการต่อไป ท�ำให้งานราชการหยุดชะงักได้

หรือกรณีการตีความในข้อระเบียบต่าง ๆ ไม่ชัดเจน

3.4 เป็นการป้องปราม ป้องกันการประพฤติมิชอบใน

การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ซึ่งความผิดพลาดและการทุจริตต่าง ๆ

เราสามารถตรวจสอบได้จากเอกสารที่ถูกจัดท�ำขึ้น และวิธีการ

ตรวจสอบอื่นที่จ�ำเป็นการตรวจสอบโดยสม�่ำเสมอ เป็นการปิดโอกาส

มิให้มีการทุจริตเกิดขึ้นได้โดยง่าย

3.5 เพิ่มเติมการติดตาม ดูแล รักษา และป้องกัน

ทรัพย์สินของทางราชการ ก่อให้เกิดความประหยัดในการใช้จ่าย

เงินงบประมาณ

3.6 ได้รับทราบวิธีปรับปรุง แก้ไขปัญหาข้อผิดพลาด

ที่เกิดขึ้นรวมถึงการปฏิบัติที่ถูกต้องต่อไป และพร้อมที่จะรับ

การตรวจสอบจากผู้ตรวจสอบภายนอก คือ ส�ำนักงานการ

ตรวจเงินแผ่นดิน

3.7 ช่วยให้ทุกหน่วยงานใน กปภ.ปฏิบัติงานเป็น

มาตรฐานเดียวกัน

ถึงตอนนี้แล้ว.......ท่านผู้อ่าน

คงจะมีความรู้สึกอบอุ่นและ

สบายใจ เมื่อใช้บริการผู้ตรวจสอบของส�ำนักตรวจสอบ กปภ.

แล้วใช่ไหมครับ......

ทั้งนี้เป็นไปตามบทบาทหน้าที่ตามค่านิยม

(Value) ของส�ำนักตรวจสอบที่ว่า “ถูกต้อง โปร่งใส ร่วมใจพัฒนา

เน้นแนะน�ำ ให้ค�ำปรึกษา เพิ่มคุณค่าองค์กร”......แล้วพบกับ

Audit Talks ฉบับหน้าต่อไปนะครับ.... สวัสดีครับ..............