

...ประเด็นคือ พอเข้าหน้าแล้ง น�้ำดิบของสาขาบางพระ
ก็จะยังเหลืออยู่เต็มอ่าง เพราะในหน้าฝน สาขาบางพระลดก�ำลัง
ผลิต เนื่องจากได้น�้ำประปาจากสาขาบางคล้าส่งเข้าไปช่วย...
...แต่พอเข้าหน้าฝน สาขาบางคล้าจะพบกับปัญหาน�้ำเค็ม
เข้าแทรก ส่งผลให้ต้องลดก�ำลังการผลิตลง ถึงตอนนี้ ก็เป็นทีของ
สาขาบางพระที่จะส่งน�้ำประปา เข้าไปช่วยสาขาบางคล้าบ้าง...
...เราเรียกแนวคิดนี้ว่า... ‘การบริหารจัดการก้อนน�้ำ’ ให้
เกิดประโยชน์สูงสุด เป็นแนวทางที่ได้ผลดีมาก ในการจัดการ
ปัญหาภัยแล้งในพื้นที่ภาคตะวันออก”
อีกหนึ่งแนวคิดที่เรียกว่า “โดนมาก” ที่ท่านรองฯ เอกชัย
ให้เป็นนโยบายกับทุกสาขาในพื้นที่ ก็คือ ให้ท�ำงานแบบ...
“ไม่นั่งรอ
โชคชะตา”
“การท�ำงานเชิงรุก แม้จะเหนื่อยกาย แต่รับรองว่า
ไม่เหนื่อยใจจากเรื่องร้องเรียน อย่างฝนตกแต่น�้ำไม่เข้าอ่างเก็บน�้ำ
ถ้าเรามัวแต่นั่งรอให้ฝนตกลงอ่างถือว่าเสี่ยงมาก ปัจจุบัน
หลายสาขาในสังกัด กปภ.เขต 1 เช่น สาขาอรัญประเทศ หรือ สาขา
ปราจีนบุรี ได้ท�ำงานเชิงรุกเพื่อแก้ปัญหาน�้ำดิบอย่างแข็งขัน เช่น
ปีนี้ที่ฝนตกแต่น�้ำไม่เข้าอ่างเลย ทีมงานทั้งสองสาขาก็ไป
ประสานงานกัน ขอยืมปั๊ มสูบน�้ำจากต่างหน่วยงาน เช่น
กรมชลประทานเขต และสาขาข้างเคียง เพื่อเร่งสูบน�้ำจากแม่น�้ำ
เข้ามาเก็บตุนไว้ในอ่างเก็บน�้ำ เร่งสูบเกือบเดือนจนน�้ำเต็มอ่าง
ถือเป็นการท�ำงานเชิงรุก ที่ต้องชื่นชมและให้ก�ำลังใจทีมงาน”
อีกหนึ่งปัจจัยหลักที่เป็นปัจจัยหนุน ท�ำให้โครงข่ายท่อส่งน�้ำ
ของ กปภ.เขต 1 ประสบผลส�ำเร็จ ก็คือ “การลงนาม (MOU)”
ระหว่าง กปภ. กับ กรมชลประทาน ว่าด้วยการด�ำเนินการสูบผันน�้ำ
ผ่านท่อส่งน�้ำเชื่อมโยงอ่างเก็บน�้ำประแสร์ ไปอ่างเก็บน�้ำคลองใหญ่
จ.ระยอง เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนน�้ำ และท�ำให้แหล่งน�้ำในพื้นที่
ภาคตะวันออกมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น ท�ำให้ กปภ.สาขา ในพื้นที่
จ.ระยอง และ จ.ชลบุรี โดยเฉพาะ กปภ.สาขาระยอง บ้านฉาง พัทยา
และสาขาแหลมฉบัง มีปริมาณน�้ำดิบส�ำหรับผลิตน�้ำประปาเพิ่มมากขึ้น
นอกจากนี้ ยังมีอีกหนึ่งปัจจัยที่ช่วยผลักดันให้ Water
Cluster ของ กปภ.ข.1 ส�ำเร็จเป็นรูปร่างก็คือ
“ยุทธศาสตร์สร้าง
โรงผลิตน�้ำ”
ที่เลือกสร้าง “ติด” กับอ่างเก็บน�้ำ มีส่งผลดี 2 ประการ
คือ
1. มีทุนน�้ำดิบที่พอเพียงตลอดปี และ 2. ลดกระแสต่อต้าน
จากชาวบ้าน
“ถ้าเราวางท่อจากอ่างเก็บน�้ำมาที่โรงผลิตน�้ำของ กปภ.
สาขาที่อยู่ห่างออกไป ชาวบ้านจะเกิดความรู้สึกไม่ดีว่าเราไป
แย่งน�้ำ เพื่อไปผลิตน�้ำประปาให้กับคนในพื้นที่อื่น แต่การสร้าง
โรงผลิตน�้ำติดกับอ่างเก็บน�้ำนั้น เราสามารถจ่ายน�้ำประปาให้กับ
ประชาชนในบริเวณโดยรอบชุมชน รวมถึงชุมชนที่ท่อเมนประปา
ผ่านไปด้วย ส่งผลให้ความรู้สึกของชาวบ้านดีขึ้น”
ท่านรองฯ เอกชัยให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า ปัจจุบันมีโรงผลิตน�้ำ
ที่สร้างติดอ่างเก็บน�้ำ 2 แห่ง คือ โรงผลิตน�้ำชากนอก กปภ.สาขา
พัทยา สร้างติดกับอ่างเก็บน�้ำห้วยชากนอก และโรงผลิตน�้ำ
มาบประชัน นอกจากนี้ ยังมีโรงผลิตน�้ำหนองปลาไหลกปภ.สาขาพัทยา
(ชั้นพิเศษ) สร้างติดอ่างเก็บน�้ำหนองปลาไหลและโรงผลิตน�้ำสะพานหิน
กปภ.สาขาคลองใหญ่ สร้างติดอ่างเก็บน�้ำสะพานหิน ซึ่งทั้งสองแห่ง
อยู่ในระหว่างการก่อสร้าง ในส่วนของโรงผลิตน�้ำพระปรง ซึ่งจะสร้าง
ณ อ่างเก็บน�้ำพระปรงขณะนี้อยู่ในขั้นตอนการออกแบบก่อสร้าง
ท่านรองฯ เอกชัย กล่าวสรุป ถึงโครงการ Water Cluster
ของ กปภ.เขต 1 ซึ่งถือเป็นโมเดล “ต้นแบบ” ของ “โครงข่าย
ท่อส่งน�้ำ" ว่าสามารถสร้างรอยยิ้มให้กับพี่น้องประชาชน และผู้ใช้น�้ำ
ในพื้นที่ภาคตะวันออก...โดยขณะนี้
“ก้าวหน้าไปกว่า 90% แล้ว”
ด้วยปณิธาน
“มุ่ง-มั่น-เพื่อปวงชน”
บวกกับกลยุทธ์
โครงข่ายท่อส่งน�้ำ ผสานเข้ากับแนวคิดโยกย้ายถ่ายเทน�้ำ รวมเข้ากับ
ยุทธศาสตร์สร้างโรงกรองติดกับแหล่งน�้ำดิบ ส่งผลให้ปัจจุบัน
การจ่ายน�้ำประปาในพื้นที่ภาคตะวันออกดีขึ้นชัดเจนเมื่อเทียบกับ10
ปีที่แล้ว เชื่อแน่ว่าด้วยโมเดลต้นแบบของระบบWater Cluster ของ
กปภ.เขต 1 จะขยายผลไปสู่ กปภ.เขตอื่น ๆ เพื่อสร้างเสถียรภาพการ
ให้บริการน�้ำประปา ให้พี่น้องประชาชนในส่วนภูมิภาคได้รับบริการ
สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานน�้ำประปาที่มั่นคง
ต่อไป
วารสาร
18